วันพฤหัสบดีที่
22 พฤศจิกายน 2555 เวลา 8.30 - 12.20 น.
วิชา
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย EAED 2204
ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาเขียนชื่อจริงของตัวเองและวาดภาพที่เราชื่นชอบลงในกระดาษที่อาจารย์แจกให้และอาจารย์ก็ได้ถามว่าใครที่มาก่อนเวลา
8.30น.บ้าง
และดิฉันก็ได้ยกมือตอบอาจารย์ก็ได้ให้ออกไปหน้าชั้นเรียนพร้อมทั้งนำป้ายชื่อไปติดบนกระดานที่อาจารย์ได้แบ่งกลุ่มให้
โดยจะมีเกณฑ์ในการกำหนดไว้เป็น เวลา ว่าใครที่มาก่อน 8.30น.
และ 8.30น.
จะทำให้มีการรู้จำนวนว่าการจำนวนนั้นเป็นการนับว่า เด็กที่มาก่อน 8.30น. มีจำนวน 8 คน
จะทำให้เด็กรู้จำนวนทั้งหมดจะแสดงเป็นตัวเลขดังนั้น
ตัวเลขจะเป็นสัญญาลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เป็นเลขฮินดูอาราบิคสรุปได้ว่า
เด็กที่มาก่อนเวลา 8.30น. มีจำนวน 8 คน
ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
นิตยา ประพฤติกิจ.2541:17-19
นิตยา ประพฤติกิจ.2541:17-19
การนับ (Counting)
คือ เป็นการนับจำนวนที่เพิ่มขึ้นและจำนวนที่ลดลง
ตัวเลข (Number) คือ
การแทนค่าที่เป็นจำนวนตัวเลข การเรียงลำดับ
การจับคู่ (Matching) คือ
กรจับคู่ของความเหมือน รูปร่าง
การจัดประเภท (Classification) คือ
การใช้เกณฑ์ในการจัดกลุ่ม
การเปรียบเทียบ(Comparing) คือ การสังเกต
กรประมาณด้วยตา
การจัดลำดับ (Ordering) คือ
การจัดลำดับให้เป็นหมวดหมู่
รูปทรงและเนื้อที่(Shape and space ) คือ
การมีพื้นที่มีปริมาณ มีความสูง ความกว้าง
การวัด(Measurement) คือ
การใช้เครื่องมือในการวัด จะได้ค่าที่ได้เป็นตัวเลข
เซต(Set) คือ การจัดกลุ่ม
เศษส่วน(Fraction) คือ
ให้เด็กได้รู้ของทั้งหมดจำนวนเต็ม
การทำตามแบบหรือลวดลาย(Patterning) คือ แบบพื้นฐานที่เข้าใจร่วมกัน
การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ(Conservation) เช่น การยกตัวอย่างของน้ำในแก้วน้ำ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น